ประวัติศาสตร์อินเดียและเอเชียใต้
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดีย
แบ่งอกเป็น สมัยโบราณ สมัยกลาง และสมัยใหม่
แต่ละยุคสมัยจำมีการแบ่งเป็นยุคสมัยย่อยตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ที่มีอิทธิพลเหนืออินเดียขณะนั้น
ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ
ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณตั้งแต่สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
โดยมีพวกดราวิเดียน เมื่อ 2,500
ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งอารยธรรมแห่งนี้ล่มสลายลงเมื่อ 1,500
ปีก่อนคริสต์สักราชเมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและก่อตั้งอาณาจักรหลายอาณาจักรในภาคเหนือของอินเดีย
นับว่าเป็นช่วงเวลาที่การเริ่มสร้างสรรค์อารยธรรมอินเดียที่แท้จริง
มีการก่อตั้งศาสนาต่าง ๆ เรียกว่า สมัยพระเวท (1,500 –
900 ปีก่อนคริสต์ศักราช) สมัยมหากาพย์ (900 – 600
ปีก่อนคริสต์ศักราช) ต่อมาอินเดียรวมตัวกันในสมัยราชวงศ์มคธ (600 – 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และมีการรวมตัวอย่างแท้จริงในสมัยราชวงศ์เมารยะ
(321 - 184 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
ระยะเวลานี้เป็นเวลาที่อินเดียเปิดเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่าง ๆ
ต่อมาราชวงศ์เมารยะล่มสลายอินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่งการแตกแยกและการรุกรานจากภายนอก
จากพวกกรีกและพวกกุษาณะ รยะเวลานี้เป็นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรมก่อนที่จะรวมเป็นจักรวรรดิได้อีกครั้งใน
ค.ศ. 320 โดยราชวงศ์คุปตะ (สมัยคุปตะ ค.ศ. 320 – ค.ศ. 535)
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง
อินเดียเข้าสู่สมัยกลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1525 สมัยนี้เป็นช่วงเวลาของความวุ่นวายทางการเมือง
และการรุกรานจากต่างชาติ โดยพาะชาวมุสลิม
สมัยกลางจึงเป็นสมัยที่อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอินเดีย
สมัยกลางแบ่งได้เป็นสมัยความแตกแยกทางการเมือง (ค.ศ. 535 – ค.ศ.
1200) และสมัยสุลต่านแห่งเดลลี (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1526)
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่
พวกโมกุลได้ตั้งราชวงศ์โมกุลถือว่าสมัยโมกุล
(ค.ศ. 1526 –
ค.ศ. 1857)
เป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่จนกระทั่งอังกฤษเข้าปกครองอินเดียโดยตรงใน ค.ศ. 1585 จนถึง
ค.ศ. 1947 อินเดียจึงได้รับเอกราชจากรปะเทศอังกฤษ
ภายหลังได้รับเอกราชและถูกแบ่งออกเป็นประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน
และบังคลาเทศ (ค.ศ. 1971)
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในสังคมอินเดีย
ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ยึดมั่นในศาสนาของตนเองมากขึ้น
และเกิดความแตกแยกในสังคมอินเดีย ดังนั้นประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ สามารถแบ่งได้เป็นสมัยราชวงศ์โมกุล
(ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) สมัยอังกฤษปกครองอินเดีย (ค.ศ. 1858
– ค.ศ. 1947)
อย่างไรก็ตามสมัยที่วัฒนธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอารยธรรมอินเดียเรียกรวมว่า
สมัยมุสลิม (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1858) หมายถึง
รวมสมัยสุลต่านแห่งเดลฮีกับสมัยราชวงศ์โมกุล
การเมืองการปกครองของอินเดีย
1. สมัยพระเวท
มีการปกครองแบบราชาธิปไตย กษัตริยเปนสมมติเทพ
2. สมัยจักรวรรดิ
แบงเปน
3. จักรวรรดิมคธ
มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย
4.
จักรวรรดิราชวงศโมริยะ แบงการปกครองออกเปน สวนกลาง สวนภูมิภาค
5. สมัยแบงแยก
อาณาจักรตางๆ ตั้งตัวเปนอิสระเกิดการรุกรานจากภายนอก คือ กรีก เปอรเซีย
6. สมัยจักรวรรดิคุปตะ
กษัตริยมีอํานาจเต็มในเมืองหลวงและใกลเคียง ดินแดน หางไกลมีเจาครองนครปกครอง
7. หลังสมัยคุปตะ
ราชวงศปาละ –เสนะ
เปนราชวงศสุดทายที่ปกครองกอนที่มุสลิมจะเขายึดครองอินเดีย
8. สมัยมุสลิม
ราชวงศโมกุลซึ่งนับถือศาสนาอิสลามเขามาปกครองกอนที่อินเดียจะตกเปนเมืองขึ้นของอังกฤษ
9. สมัยอาณานิคม
มีระเบียบบริหารราชการ กฎหมาย
และการศาลเปนแบบฉบับเดียวกันทั่วประเทศเปนผลดีแกอินเดีย
10. สมัยเอกราช
พลังของขบวนการชาตินิยม ระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายใตการนําของมหาตมะคานธี
11. สมัยปจจุบัน
อินเดียมีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเปนประมุข
มีนายกบริหารประเทศ รัฐสภามี 2 สภาคือ ราชยสภา กับโลกสภา (สภาผูแทน)
เศรษฐกิจของอินเดีย
พื้นฐานเศรษฐกิจของอารยธรรมลุมแมนํ้าสินธุ คือ การเกษตรกรรม
และการคาขาย เมื่อชาวอารยันเขามาปกครองเกิดอาชีพตางๆ ในสมัยพระเวทตอนปลายมีการคาขายกับอียิปต
และตะวันออกกลาง ในสมัยคุปตะเกิดระบบศักดินาในอินเดีย รัฐบาลมีรายไดจากภาษี 2
ประเภท คือภาษีที่ดิน ภาษีการคา
สังคมและวัฒนธรรมอินเดีย
1. ระบบวรรณะ
ตั้งขึ้นโดยชาวอารยัน แบงออกเปน 4 วรรณะ ไดแก วรรณะพราหมณ กษัตริย ไวศยะ
(แพศย) ศูทร
2. ลักษณะครอบครัว
เปนครอบครัวรวม ชายที่มีอายุมากที่สุดเปนหัวหนาครอบครัว
3. ปรัชญาและลัทธิศาสนา
อินเดียเปนแหลงกําเนิดของศาสนาสําคัญ ไดแก พราหมณ-ฮินดู พุทธ เชน ซิกข
คําสอนของศาสนาตางๆ มีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของชาวอินเดีย
ศิลปกรรมในอารยธรรมอินเดีย
ศิลปกรรมในอินเดียสวนใหญไดรับอิทธิพลจากศาสนาและศิลปะจากภายนอก
คือ กรีก เปอรเซีย แบงเปน
1. สถาปตยกรรม
เนนประโยชนใชสอยมากกวาความสวยงาม สวนใหญเปนการสราง สถูป เจดีย
2. ประติมากรรม
การสรางพระพุทธรูป ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากกรีก
3. จิตรกรรม
รุงเรืองที่สุดสมัยคุปตะ ไดแก จิตรกรรมฝาผนังที่ถํ้าอชันตะ
ซึ่งเปนภาพพุทธประวัติ
4.
นาฎศิลปและสังคีตศิลป ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการบูชาเทพเจา มีลักษณะเดน คือ
การฟอนรํา แตงตัว แตงหนา
5. วรรณกรรม
เนนหนักไปทางศาสนา เชน คัมภีรพระเวท
ศิลปกรรมในอารยธรรมอินเดีย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น